Press "Enter" to skip to content

Day: September 3, 2021

ซุคฮอย ซู-30

ซุคฮอย ซู-30ซุคฮอย ซู-30 (อังกฤษ: Sukhoi Su-30, Flanker-C) (นาโต้ใช้ชื่อรหัสว่าแฟลงเกอร์-ซี) เป็นเครื่องบินทางทหารสองเครื่องยนต์ที่สร้างโดยบริษัทการบินซุคฮอยของรัสเซียและเริ่มนำเข้ามาใช้ปฏิบัติการในปีพ.ศ. 2539 มันเป็นเครื่องบินขับไล่โจมตีสองที่นั่งสำหรับภารกิจขัดขวางทางอากาศและพื้นดินในทุกสภาพอากาศ มันเทียบได้กับเอฟ-15อี สไตรค์อีเกิล เครดิตฟรี เครื่องบินเป็นรุ่นที่ถูกทำให้ทันสมัยของซู-27ยูบีและมีแบบที่หลากหลาย ซู-30เคและซู-30เอ็มเคเป็นรุ่นที่ประสบความสำเร็จทางการค้า แบบอื่นๆ นั้นถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทที่เข้าแข่งขันกันคือเคเอ็นเอเอพีโอ (KnAAPO) และไอร์คัท (IRKUT Corporation) ทั้งสองอยูภายใต้ข้อกำหนดของซุคฮอย บริษัทแรกทำการผลิตซู-30เอ็มเคเคและซู-30เอ็มเค2 ซึ่งออกแบบและขายให้กับจีนและอินโดนีเซีย…

Comments closed

ประวัติการใช้งาน มิก-29 ทำสงคราม

ประวัติการใช้งาน มิก-29 ทำสงครามอินเดียเป็นลูกค้ารายต่างประเทศรายแรกของมิก-29 กองทัพอากาศอินเดียได้วางแผนซื้อmig-29 เพิ่มอีกกว่า 50 ลำ ในปีพ.ศ. 2523 ในขณะที่เครื่องบินยังคงอยู่ในช่วงการพัฒนาเท่านั้น ตั้งแต่ที่มันได้ปรากฏตัวในกองทัพอากาศอินเดียในปีพ.ศ. 2528 มันก็ได้ประสบกับการดัดแปลงมากมาย อย่าง ระบบอิเลคทรอนิกอากาศ ระบบสำรอง เครื่องยนต์เทอร์โบแฟน และเรดาร์ รุ่นพัฒนาของอินเดียใช้ชื่อว่าบาอาซ (ภาษาฮินดีแปลว่าเหยี่ยว) และทำให้เกิดกองบินโจมตีขึ้นมาตามซุคฮอย ซู-30เอ็มเคไอ เครดิตฟรี สถิติการทำงานที่ดีของmig-29 ทำให้อินเดียทำสัญญากับรัสเซียในปีพ.ศ.…

Comments closed

อาวุธของมิก-29

อาวุธของมิก-29อาวุธของมิก-29 มีทั้งปืนใหญ่อากาศจีเอสเอช-30-1 ขนาด 30 ม.ม.หนึ่งกระบอกที่โคนปีก เดิมทีนั้นมันใช้แมกกาซีน 150 นัดซึ่งต่อมาได้ลดเหลือ 100 นัด มิก-29บีแบบเดิมนั้นไม่สามารถทำการยิงปืนได้เมื่อติดตั้งถังเชื้อเพลิงตรงกลางเพราะว่ามันจะไปบังช่องดีดกระสุน ต่อมาได้มีการแก้ไขในมิก-29เอสและรุ่นต่อๆ มา มีจุดติดตั้งสามจุดใต้ปีกแต่ละข้าง (บางแบบก็สี่) จุดติดตั้งภายในสามารถติดตั้งถังเชื้อเพลิงขนาด 1,150 ลิตร ขีปนาวุธอากาศสู่อากาศพิสัยกลางวิมเปล อาร์-27 หนึ่งลูก หรือระเบิดหรือจรวด เครื่องบินบางลำของโซเวียตสามารถบรรทุกระเบิดนิวเคลียร์ไว้ภายในได้ จุดติดตั้งภายนอกมักติดตั้งขีปนาวุธวิมเปล อาร์-73…

Comments closed

ห้องนักบินและระบบเซ็นเซอร์มิก-29

ห้องนักบินและระบบเซ็นเซอร์มิก-29ห้องนักบินมีจุดเด่นคือคันบังคับตรงกลางและคันเร่งที่ด้านข้าง นักบินจะนั่งอยู่ในเก้าอี้ดีดตัวแบบซเวซดา เค-36ดีเอ็ม ซึ่งมีการทำงานที่ดีมากในเหตุฉุกเฉินห้องนักบินมีหน้าปัดอำนวยความสะดวกพร้อมกับหน้าจอฮัดหรือเฮด-อัพ ดิสเพลย์และหน้าจอติดหมวกแบบชเชล-2ยูเอ็ม ดูเหมือนว่าจะเป็นการเน้นไปที่การทำห้องนักบินให้เหมือนกับมิก-23 และเครื่องบินลำอื่นๆ ของโซเวียตเพื่อความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงมากกว่าความสะดวก ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ถึงกระนั้นมิก-29 มีมุมมองที่ดีกว่าเครื่องบินขับไล่ลำอื่นๆ ของรัสเซียเพราะฝาครอบทรงโค้งที่อยู่ในตำแหน่งสูง เครดิตฟรี เซ็นเซอร์ส่วนสำคัญของมิก-29บีคือระบบควบคุมการยิงด้วยเรดาร์แบบอาร์แอลพีเค-29 ของพาโซตรอน ซึ่งรวมทั้งเรดาร์คลื่นพัลส์แบบติดตามแล้วยิงรุ่นเอ็นโอ19 และคอมพิวเตอร์ดิจิตอลรุ่นทีเอส100.02-02 เอ็นไอ19เอรุ่นเดิมถูกคาดว่าจะใช้กับมิก-29 แต่กลับไม่ตรงกับทีวีวีเอสต้องการ พิสัยติดตามต่อเป้าหมายขนาดเครื่องบินขับไล่มีเพียง 70 กิโลเมตรเท่านั้น พิสัยต่อเป้าหมายขนาดเครื่องบินทิ้งระเบิดน้อยมากกว่านั้นเกือยเท่าตัว เป้าหมายสิบเป้าหมายสามารถปรากฏขึ้นในรูปแบบตรวจจับ…

Comments closed

การออกแบบมิก-29

การออกแบบมิก-29จุดเด่นเพราะว่ามันถูกออกแบบมาจากเครื่องบินพีเอฟไอของทีเอสเอจีไอ มิก-29 จึงมีระบบอากาศพลศาสตร์ที่คล้ายคลึงกับซุคฮอย ซู-27 แต่มีข้อแตกต่างที่โดดเด่นกว่าบ้าง โครงสร้างส่วนใหญ่ทำมาจากอะลูมิเนียมและวัสดุผสม มันมีปีกแบบลู่ที่กลืนเข้ากับปีกเสริมที่ส่วนหน้าโดยทำมุม 40 องศา มันมีส่วนหางที่ลู่ไปทางด้านหลังและหางคู่ติดตั้งอยู่ที่ส่วนท้ายเครื่องยนต์ มันมีแพนปีกส่วนหน้าสี่ส่วนและห้าส่วนในรุ่นต่อๆ มา เมื่อมันถูกนำมาใช้งานมันเป็นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นแบบแรกของรัสเซียที่สามารถทำกระบวนท่าที่เรียกว่าปูกาเชฟส์คอบราได้ เครดิตฟรี มิก-29 มีการควบคุมด้วยไฮดรอลิกและระบบนักบินอัตโนมัติเอสเอยู-451 แต่ไม่เหมือนกันซู-27 ตรงที่มันไม่มีระบบฟลาย-บาย-ไวร์ ถึงกระนั้นมันก็มีความว่องไวและการเลี้ยวที่ยอดเยี่ยม มันสามารถทำมุมปะทะได้ในระดับอัลฟา และมีการต้านทานการหมุน โครงสร้างถูกทำให้สามารถรับแรง 9 จีได้ การควบคุมมีการจำกัดเพื่อป้องกันไม่ให้นักบินทำแรงมากกว่า…

Comments closed

การพัฒนา มิโคยัน มิก-29

การพัฒนา มิโคยัน มิก-29ในปีพ.ศ. 2522 สหภาพโซเวียตได้เรียนรู้จากโครงการ”เอฟ-เอ็กซ์”ของกองทัพอากาศสหรัฐฯ ซึ่งส่งผลให้เกิดเอฟ-15 อีเกิลขึ้นมา ไม่นานผู้นำฝ่ายโซเวียตได้ตระหนักถึงเครื่องบินขับไล่ของอเมริกาที่อาจก้าวหน้ากว่าเครื่องบินขับไล่ของโซเวียต สิ่งที่ต้องการก็คือเครื่องบินขับไล่ที่ดีกว่าทั้งความรวดเร็วและระบบที่ทันสมัย เหล่านายพลโซเวียตได้ประกาศความต้องการพีเอฟไอ (รัสเซีย: Perspektivnyy Frontovoy Istrebitel, แปลหยาบๆ ว่า”เครื่องบินขับไล่สำหรับแนวหน้าที่ทันสมัย”) รายละเอียดเฉพาะนั้นทะเยอทะยานอย่างมาก มันต้องมีพิสัยที่ไกล ทำงานในรันเวย์สั้นได้ มีความคล่องตัวสูง ทำความเร็วได้ตั้งแต่ 2 มัคขึ้นไป และมีอาวุธขนาดหนัก การออกแบบทางด้านอากาศพลศาสตร์ของเครื่องบินลำใหม่นี้ทำโดยทีเอสเอจีไอ…

Comments closed