Press "Enter" to skip to content

Tag: สงครามโลกครั้งที่สอง

ยุงเคิร์ส ยู 88

ยุงเคิร์ส ยู 88ยุงเคิร์ส ยู 88 (เยอรมัน: Junkers Ju 88) เป็นเครื่องบินต่อสู้หลากบทบาทสองเครื่องยนต์ของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ออกแบบขึ้นกลางคริสต์ทศวรรษ 1930 เพื่อใช้เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดเร็ว (Schnellbomber) ของลุฟท์วัฟเฟอ มันเป็นเครื่องบินที่บินเร็วเกินกว่าที่เครื่องบินรบในยุคนั้นจะสกัดกั้นได้ ในช่วงแรกของการพัฒนาและการทดสอบบินนั้น มันประสบกับปัญหาทางเทคนิคมากมาย แต่สุดท้ายมันก็กลายเป็นเครื่องบินสารพัดประโยชน์ที่สามารถตอบโจทย์ได้หลายด้านในช่วงสงคราม ทั้งเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิด เครื่องบินดำดิ่งทิ้งระเบิด เครื่องบินต่อสู้กลางคืน เครื่องบินทิ้งตอร์ปิโด เครื่องบินลาดตระเวน และเครื่องบินต่อสู้หนัก…

Comments closed

พิอาจิโอ พี.108 ,นากาจิมะ จี8เอ็น

พิอาจิโอ พี.108 ,นากาจิมะ จี8เอ็นพิอาจิโอ พี.108 (อังกฤษ: Piaggio P.108) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดหนักสี่เครื่องยนต์ของอิตาลีในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ใช้โดยกองทัพอากาศราชอาณาจักรอิตาลีประจำการ ราชอาณาจักรอิตาลี กองทัพอากาศราชอาณาจักรอิตาลี ไรช์เยอรมัน ลุฟท์วัฟเฟอ เครดิตฟรี คุณลักษณะ (พิอาจิโอ พี.108บี)ผู้สร้าง: พิอาจิโอ (ประเทศอิตาลี)ประเภท: เครื่องบินทิ้งระเบิดเครื่องยนต์: 4 × Piaggio P.XII…

Comments closed

ไฮง์เคิล เฮ 177

ไฮง์เคิล เฮ 177ไฮง์เคิล เฮ 177 ไกรฟ์ (เยอรมัน: Heinkel He 177 Greif) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดหนักพิสัยไกลของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และถือเป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดหนักเพียงรุ่นเดียวของลุฟท์วัฟเฟอที่มีสมรรถนะเทียบเท่าเครื่องบินทิ้งระเบิดสี่เครื่องยนต์ของกองทัพอากาศทหารบกสหรัฐ เฮ 177 มีขีดความสามารถในการบรรทุกระเบิดถึง 7 ตันต่อเที่ยว เครดิตฟรี กระทรวงการบินไรช์ได้สั่งการไปยังบริษัทอากาศยานไฮง์เคิล (Heinkel Flugzeugwerke) ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1936…

Comments closed

ล็อกฮีด พี-38 ไลท์นิง

ล็อกฮีด พี-38 ไลท์นิงล็อกฮีด พี-38 ไลท์นิง เป็นเครื่องบินขับไล่ที่มีเครื่องยนต์แบบลูกสูบของอเมิกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ถูกพัฒนาขึ้นจากเหล่ากองทัพอากาศสหรัฐ(United States Army Air Corps) พี-38 นั้นมีแพนหางคู่ที่โดดเด่น และห้องเครื่องโดยสารที่อยู่ตรงกลางจะมีนักบินและอาวุธยุโธปกรณ์ โฆษณาชวนเชื่อของฝ่ายสัมพันธมิตรได้กล่าวอ้างว่าได้มีการตั้งฉายาว่า เครดิตฟรี ปีศาจส้อมคู่ประกบกัน(fork-tailed devil)(เยอรมัน: der Gabelschwanz-Teufel) โดยลุฟท์วัฟเฟอ และ”เครื่องบินสองลำ,หนึ่งนักบิน” (2飛行機、1パイロット Ni hikōki,…

Comments closed

ประเภทอื่นๆของการขับเคลื่อน

ประเภทอื่นๆของการขับเคลื่อนอากาศยานขับเคลื่อนด้วยจรวด(อังกฤษ: Rocket-powered aircraft) ได้มีการทดลองเป็นครั้งคราวและเครื่องบินขับไล่ Messerschmitt “Komet” ได้แสดงความสามารถในสงครามโลกครั้งที่สอง. ตั้งแต่นั้นมาพวกมันถูกจำกัดให้เป็นแค่อากาศยานเพื่อการวิจัยเท่านั้น, เช่น North American X-15, ซึ่งเดินทางขึ้นไปในอวกาศในที่ซึ่งเครื่องยนต์ที่ใช้อากาศหายใจ(อังกฤษ: air-breathing engine) ไม่สามารถทำงานได้ (จรวดบรรทุก oxidant ของมันไปเอง). จรวดมักจะถูกนำมาใช้เป็นตัวเสริมสำหรับแหล่งพลังงานหลัก, โดยทั่วไปสำหรับการบินขึ้นโดยใช้จรวดช่วยส่ง(อังกฤษ: rocket-assisted take off)ของอากาศยานบรรทุกสัมภาระขนาดหนัก, แต่ยังให้ความสามารถในการวิ่งออกอย่างรุนแรงด้วยความเร็วสูงในการออกแบบไฮบริดบางอย่างเช่น…

Comments closed

เครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่น

เครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นเครื่องบินขับไล่เครื่องยนต์ไอพ่นยุคแรก (กลางทศวรรษ 1940 ถึงกลางทศวรรษ 1950)ครื่องบินขับไล่พลังไอพ่นยุคแรกเริ่มจากการออกแบบเครื่องบินไอพ่นที่ปรากฏตัวในช่วงท้ายของสงครามโลกครั้งที่สองและต้นช่วงหลังสงคราม พวกมันแตกต่างไม่มากจากเครื่องยนต์ลูกสูบในด้านรูปลักษณ์ และใช้กับเครื่องบินปีกนิ่ง ปืนยังคงเป็นอาวุธหลัก แรงผลักดันในการพัฒนาเครื่องยนต์ไอพ่นนั้นก็คือเพื่อให้ได้ความเร็วสูงสุด ความเร็วสูงสุดของเครื่องบินขับไล่มากขึ้นตลอดสงครามโลกครั้งที่สองเช่นเดียวกับเครื่องยนต์ลูกสูบที่พัฒนาไปด้วย และเริ่มเข้าสู่การบินเหนือเสียงที่ซึ่งเครื่องยนต์ลูกสูบไม่สามารถทำได้ เครดิตฟรี เครื่องบินไอพ่นลำแรกถูกสร้างขึ้นในสงครามโลกครั้งที่สองและต่อสู้ในปีสุดท้าย เม็สเซอร์ชมิทได้พัฒนาเครื่องบินเจ็ทขับไล่ลำแรก คือเม 262 มันรวดเร็วกว่าเครื่องบินลูกสูบลำใดๆ และเมื่ออยู่ในมือของนักบินที่มากประสบการณ์มันก็จะเป็นเรื่องยากที่นักบินฝ่ายสัมพันธมิตรจะเอาชนะมันได้ การออกแบบไม่เคยพัฒนามากพอที่จะหยุดการบุกของสัมพันธมิตร และเมื่อรวมกับเชื้อเพลิงที่ขาดแคลน การสูญเสียนักบิน และความยุ่งยากทางเทคนิคของเครื่องยนต์ทำให้การรบน้อยลง ถึงกระนั้นเม 262 ได้ชี้ทางให้กับจุดจบของเครื่องบินแบบเครื่องยนต์ลูกสูบ…

Comments closed